วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

เรียนครั้งที่ 14

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  21 พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557
ครั้งที่  14   เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40น


Knowledge

-วันนี้อาจารย์ให้เอาของเล่นวิทยาศาสตร์มาส่งและถามวิทยาศาสตร์อย่างไร มีทั้ง พลังงานจลน์ พลังงานศักย์  จุดศูนย์กลาง

แรงลม
แรงเสียดทาน ,ตัวศูนย์กลาง



   จากนั้นอาจารย์ให้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู
   วิจัย
   1. การจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2
   2.  การพัฒนาชุดการสอนวิทยาศาสตร์น่ารู้ชั้นอนุบาล 2
   3.  เรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการ            วิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน
   4.  การพัฒนาทักษะพื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มสมุนไพร  
 5.  ทักษะทางวิทยาศาสตร์
  โทรทัศน์ครู
   1.  ส่องนกในโรงเรียน
   2.  สอนเด็กอย่างไรให้มีจิตวิทยาศาสตร์
   3. จุดประกายนักวิทยาศาสตร์น้อย


จากนั้นทำCooKingวาฟเฟิล


 อาจารย์แนะนำอุปกรณ์ในการทำและวิธีการทำ

อุปกรณ์

 อุปกรณ์ในการทำวาฟเฟิล

 วาฟเฟิล



Applications

  1. สามารถนำสื่อที่เพื่อนเอามาส่งนำไปต่อยอดให้มีจินตนาการมากขึ้น
  2. สามารถนำเทคนิคการสอนจากวิจัยไปปรับใช้ในการสอบสอน
  3. สามารถนำการทำวาฟเฟิลไปสอนเด็กได้ด้วยการใช้เทคนิคที่เด็กเข้าใจ

Evaluation

One:วันนี้ตังใจฟังเพื่อนๆนำเสอนของเล่นวิทยาศาสตร์และตั้งใจทำกิจกรรมในการทำวาฟเฟิลเพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้กับเด็กในการประกอบอาหาร

Friend : วันนี้เพื่อนบางคนก็ไม่ได้เอาของเล่นมา ทำให้สื่อสารกันไม่เข้าหรือเพื่อนลืมทำให้อาจารย์ให้โอกาสให้เอามาส่งวันจันทร์หน้าและเพื่อนตั้งใจเตรียมอุปกรณืมาทำกิจกรรมประกอบอาหารการทำวาฟเฟิล

Teacher : วันนี้อาจารย์แนะนำการวาฟเฟิลและวิธีการทำได้ละเอียดมากค่ะ และค่อยดูเพื่อนๆทำกิจกรรมอยู่ห่างๆคอยแนะนำควรใส่อะไรก่อนหลัง





เรียนครั้งที่ 13

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  14  พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557
ครั้งที่  13  เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40น



Group 7
         เรื่องแปรงฟัน






ขั้นนำ : ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง
          แปรงสีฟันมีหลายชนิด    แต่ละขนิดมีดีต่างกัน
          แปรงสีฟันไฟฟ้านั้น         รวดเร็วพลันใช้ได้อย่างดี
          แปรงสีฟันผู้ใหญ่ก็มี         สะอาดดีเมื่อเราแปรงฟัน
ครูท่องให้ฟัง 1 รอบแล้วเด็กท่องตามแล้วท่องพร้อมกัน

ขั้นสอน : ครูใช้คำถวามกระตุ้นเด็กว่า ในคำคล้องจองมีแปรงสีฟันอะไรบ้าง  และเด็กๆรุู้จักแปรงสีฟันอะไรนอกเหนือนี้บ้าง 
 ขั้นสรุป :  ครูและเด็กร่วมกันทวบทวนคำคล้องจองและเนื้อหาของแปรงสีฟัน
      

Group 8
         เรื่องผีเสื้อ



ขั้นนำ : ครูสวัสดีเด็กด้วยเพลงสวัสดี
            สวัสดีแบบไทยๆ แล้วก็ไปแบบสากล สวัสดีทุกๆคน แบบสากลแล้วก็แบบไทย

ขั้นสอน : ครูถามเด็กว่า ในคำคล้องจองมีอะไรบ้าง และก็สอนเนื้อหาของผีเสื้อโดยน้ำมาเปรียบเทียบกัน2 ชนิดว่ามีลักษณะ สี รูปร่างต่างกันอย่างไร โดยครูจะบันทึกเป็นวงกลมการเปรียบเทียบ สิ่งใดเหมือนไม่เหมือน
ขั้นสรุป: ครูและเด็กร่วมกันทบทวนเพลงและเนื้อหาของผี้เสื้อ

Group 9  
เรื่องกล้วย
         



ขั้นนำ : ครูท่องคำคล้องจอง เรื่องกล้วย
ขั้นสอน : ครูนำรูปภาพกล้วยแต่ละชนิดมาให้เด็กดู และถามเด้กว่าเป็นกล้วยชนิดไหน มีกล้วยอะไรบ้างนอกเหนือกว่านี้ โดยครูจะเขียน Mindmap  และจดบันทึกที่เด็กตอบและตั้งเกณฑ์กล้วยที่ไม่ใช่กล้วยหอม 
ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันทบทวนคำคล้องจองและเนื้อหาเรื่องกล้วย





จากนั้นทำ Cooking



 อาจารย์แนะนำอุปกรณ์และสาธิตการทำ



อุปกรณ์ในการทำ

เครื่อง



ทาโกยากิ


จากนั้นอาจารย์ให้นำเสนอวิจัยเพื่อนที่ยังไม่รายงาน

1.เรื่องการพัฒนาทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้การเรียนการสอนแบบจิตปัญญา
2.เรื่องผลต่อการจัดกิจกรรมนอกห้องเรียนที่มีผลต่อวิทยาศาสตร์สหรับเด็กปฐมวัย2540ใช้การสังเกตความสามารถในการรับรู้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 
3.ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน



Applications

    1.  สามารถนำนำหน่วยที่เพื่อนสอบไปใช้สอนกับเด็กด้วยสิ่งรอบตัวของเด็ก
    2.  สามารถนำเทคนิคการสอนจากวิจัยไปปรับใช้ในการสอบสอน
    3.  สามารถนำการทำทาโกยาก็ิได้ด้วยการใช้เทคนิคที่เด็กเข้าใจและงายต่อการเรียน

Evaluation

One:วันนี้ตั้งใจเรียนและตั้งใจฟังเพื่อนนำเสนอการสอบสอน และการประกอบอาหารการทำทาโกยากิ

Friend : เพื่อนสนใจการทำทาโกยากิมากค่ะ พูดกันเสียงดัง


Teacher : นำเทคนิคที่อาจารย์แนะนำและการสอนไปใช้ในการบรูณาการให้เข้ากับวิชาอื่นๆได้ค่ะและเก็บคำแนะนำวิธีการของอาจารย์บอกไปปรับปรุงและนำมาใช้เพื่อในการเรียนการสอน






เรียนครั้งที่ 12

บันทึกอนุทิน


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  6 พฤศจิกายน  พ.ศ. 2557
ครั้งที่  12  เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40

Knowledge

-วันนี้สอบสอนของแต่ละกลุ่มในหน่วยเรื่อง กบ ดอกมะลิ แปรงฟัน ปลา กะหล่ำปี ส้ม ไก่

Group 1
      เรื่องกบ





ขั้นนำ :  ครูถามเรืองราวเกี่ยวกับเด็ก
ขั้นสอน : 1. ร้องเพลงกบ
กบ กบ กบ กบมันมีสีขา ขาหลังกระโดดขึ้นมามันแลบลิ้นแพรบๆ
                 2. ครูใช้คำถามกระตุ้นให้เด็ก เด็กคิดว่าในเนื้อเพลงมีอะไรบ้าง และนอกเหนือจากเนื้อเพลงเด็กรู้อะไรเกี่ยวกับกบบ้าง
ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันทบทวนเพลงกบและทบทวนในเนื้อหา



Group 2
     เรื่องกะหล่ำปี





ขั้นนำ :  ครูให้เด็กปรบมือเพื่อเรียกสมาธิของเด็ก
ขั้นสอน: ครูร้องเพลงกะหล่ำปีและเล่านิทานเรื่องคนสวยขายกะหล่ำปี
ขั้นสรุป : ครูทบทวนเพลงและเนื้อหาในนิทาน


Group 3
        เรื่องส้ม




ขั้นนำ : ครูใช้เพลงแพะ แกะ
ตบมือเปาะแปะ เรียกแพะเข้ามาแพะไม่มาปิดประตูรูดซิบ
ขั้นสอน: ครูให้เด็กดูภาพและใช้คำถามกระตุ้นในเนื้อหาประโยชน์และข้อพึงระวังเรื่องส้ม
ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันทบทวนเพลงอีกรอบและเนื้อหาประโยชน์และข้อพึงระวังเรื่องส้ม


Group 4
      เรื่องดอกมะลิ การทำCooking


สาธิตการสอน

ทอดดอกมะลิ

ขั้นนำ :ครูและเด็กร่วมกันท่องคำคล้องจอง  ประโยชน์ดอกมะลิ
ขั้นสอน : ครูและเด็กร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการทำดอกมะลิชุบแป้งทอดและลงมือทำครูจะเป็นคนสาธิตและดูแลให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำดอกมะลิชุบแป้งทอด
ขั้นสรุป : ครูและเด็กร่วมกันอภิปรายผลการทำดอกมะลิชุบแป้งทอดและทบทวนคำคล้องจอง



Group 5
           เรื่องไก่





ขั้นนำ : ครูท่องคำคล้องจองเกี่ยวกับไก่
กอไก่กุ๊กกุ๊ก   เข้าอยู่ทุ่งนา
สายอยู่ทุ่งหญ้า   เย็นพาเข้าซุ้ม
เดินย่องยุ่มๆ     ทั้งเขี่ยอาหาร
รวมทั้งพืชผัก   ข้าวเปลือกข้าวสาร
ที่เป็นอาหาร       ทั้งหนอนไส้เดือน
แล้วทุกหกเดือน   ต้องฉีดวัคซีน
เพื่อป้องกันโรค   ให้ไก่แข็งแรง
ขั้นสอน : ครูใช้คำถามถ้วนประสบการณ์เดิมของเด็กและเนื้อหาของไก่
ขั้นสรุป : ครูทบทวนคำคล้องจองและทบทวนเนื้อหาของไก่

Group 6
           เรื่องปลา


การสาธิต

 ปลาทู

ขั้นนำ : ครูท่องคำคล้องจองปลาทู
ขั้นสอน : คุณครูบอกส่วนประกอบและอุปกรณ์ในการทำให้เด็กดูและสาธิตทอดปลาทู
ขั้นสรุป  : ครูทบทวนคำคล้องจองและเนื้อหาการประกอบอาหารด้วยการทอดปลาทู



Applications

 1. สามารถนำการสอบสอนของแต่ละเรื่องหน่วยของเพื่อนไปปรับใช้กับเด็กในอนาคตเวลาออกไปฝึกสอน
 2. สามารถนำขั้นนำขั้นสอนขั้นสรุปไปปรับประยุกต์ใช้ในแผนการสอนของเราได้   
 3. สามารถนำการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ไปบูรณาการในวิชาต่างๆได้

Evaluation

One:วันนี้ตั้งใจเรียนและตั้งใจทำกิจกรรมในการสอบสอนค่ะและช่วยเพื่อนเตรียมอุปกรณ์มาทำดอกมะลิชุบแป้งทอดและจากนั้นตั้งใจดูการสอบสอนของเพื่อนกลุ่มต่อไป

Friend :วันนี้เพื่อนสอบสอนได้น่าสนใจและมีชื่อเรื่องที่หลากหลายและมีการสอนที่หลายรูปแบบ สนุกสนานในการทำกิจกรรม

Teacher:อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่ละเอียดชัดเจนทำให้เพื่อนที่ออกมาสอบสอนได้ประสบการณ์ในการสอนและมีขั้นตอนในการบอกและสอดแทรกเนื้อหาและมีคำถามในการกระตุ้นเด็กว่าจะต้องถามเด็กอย่างไร



วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สื่อของเล่นวิทยาศาสตร์



ชื่อกิจกรรม ตัวหมุนติ้วๆ



อุปกรณ์


ขั้นตอนที่ 1 นำแผ่นซีดีที่ไม่ใช่แล้ว มาวัดและวาดรูปทรงตามจินตนาการ



ขั้นตอนที่ 2 พอได้รูปทรงแล้วก็นำไปตกแต่งให้สวยงามแล้วนำมาติดกับแผ่นซีดี



ขั้นตอนที่ 3 นำฝาขวดน้ำมาติดใส่ตรงกลางแผ่นซีดีทั้ง 2 ข้าง




ขั้นตอนที่ 4 เสร็จสมบูรณ์สามารถเล่นได้








เรียนครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 24 ตุลาคม พ.ศ. 2557
ครั้งที่  11  เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40น

knowledge


สื่อของเล่นวิทศาสตร์

1. โยนไข่ไม่แตก
2. ปอปลาตากลม
3. รถของเล่น
4. แก้วกระโดด
5. นักดำน้ำ
6. กระป๋องโยกเยก
7. กบกระโดด
8. บูมมาแรง
9. ธนูไม้ไอติม
10.กระป๋องผิวปาก
11.ตุ๊กตาล้มลุก
12.แท่นยิง
13.เขาวงกต
14.หนูวิ่ง
15.ไหมพรมเต้นระบำ
16.ป๋องแป๋ง
17.โมบายสายรุ้ง
18.ขวดน้ำหนังสติ๊ก
19.หลอดจากน้ำกาแฟ
20.ตัวหมุนติ้วๆ
22.รถหลอดด้าย
23.จักจั่น
24.ประทัดกระดาษ
25.รถล้อเดียว
26.ทะเลในขวด
27.แก้วส่งเสียง

พลังงานที่เกียวกับสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์

1. แรงเสียดทาน เกี่ยวกับการหมุน
2. พลังงานศักย์
3. พลังงานจลน์
4. พลังงาน
5. แรงดัน
6. แรงลม
7. แรงโน้มถ่วง
8. การเคลื่อนที่



ตัวหมุนติ้วๆ





Applications

1.สามารถนำวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของเล่นอย่างง่ายได้
2.สามารถนำสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ของเพื่อนไปปรับใช้ในแผนการสอนภายในแต่ละหน่วยได้


Evaluation

self : วันนี้ตั้งใจนำสื่อของเล่นมานำเสนออาจารย์และตั้งใจฟังอาจารย์สอนและแนะนำของเล่นบของเพื่อนๆว่าควรไปปรับตรงไหนบ้าง

Friend  : วันนี้เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอสื่อของเล่นวิทยาศาสตร์ แต่บางอันเป็นสื่อการทดลองอาจารย์เลยให้ไปทำมาใหม่และแนะนำเทคนิควิธีการนำเสนอ

Teacher  : อาจารย์มีเทคนิคการบอกที่ชัดเจนเข้าใจ และของเล่นที่อาจารย์ให้ทำก็ง่ายต่อเด็กๆ เด็กสามารถทำเองได้อย่างง่าย