วันอาทิตย์ที่ 26 ตุลาคม พ.ศ. 2557

เรียนครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน




วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  18 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่  10  เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40น

หมายเหตุ : เรียนชดเชย

knowledge





Applications

1.สามารถนำตัวอย่างแผนการสอนที่อาจารย์บอกเช่นเรื่องส้ม ดอกมะลิ กล้วยไปประยุกต์ใช้ในการเรียนได้ค่ะแล้วนำไปใช้กับเด็กๆในอนาคต
2.สามารถนำทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปปรับใช้ในการเขียนแผน เช่นการสังเกต การจำแนกการวัด เป็นต้น


Evaluation

self : วันนี้ตั้งใจเรียนและตั้งใจทำงานค่ะ แต่อาจจะง่วงนิดหน่อยเพราะเป็นวันเสาร์ รู้สึกเพลียๆ

Friend : เพือนๆมาน้อยมากๆเลยค่ะ เพราะเนื่องจากวันนี้เป็นวันเสาร์ด้วยอาจจะติดธุระและเพื่อนๆที่มาก็ตั้งใจทำงานและตั้งใจเรียน

Teacher : อาจารย์แนะนำการทำงานการวางแผนที่จะจัดกิจกรรมแต่ละหน่วยได้ละเอียดมากค่ะ แนะนำว่าแต่ละหน่วยต้องไปเพิ่มเติมตรงไหนบ้าง


วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2557

เรียนครั้งที่ 9

บันทึกอนุทิน


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  17 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่  9  เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40น

Knowledge









Applications

1.สามารถนำแผนการสอนที่ได้ไปจัดการเรียนการสอนในหน่วยต่างๆได้
2.สามารถนำเทคนิคการสอนของอาจารย์ไปจัดกิจกิจกรรมให้กับเด็กได้ในการสอนในอนาคต



Evaluation

self  : วันนี้ตั้งใจเรียนค่ะ พร้อมที่จะเรียน พร้อมที่ส่งแผนการสอนและรู้สึกสนุกในการเรียน 


Friend : เพือนๆตั้งใจฟังอาจารย์ และไม่ตั้งใจทำกิจกรรมแต่ไม่ได้ทำแผนการสอนมาส่ง ทำให้อาจารย์สอนไม่ได้ว่ามีเรื่องอะไรบ้างเลยไม่ได้ดูแผนของเพื่อน บางคนก็เล่นโทรศัพท์ บางคนก็คุยกัน


Teacher : อาจารย์มีการแนะนำในเรื่องแผนการสอนได้ละเอียดและรอบคอบมากค่ะ


วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557

เรียนครั้งที่ 8

บันทึกอนุทิน



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  10 ตุลาคม พ.ศ. 2557
ครั้งที่  8   เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40น




หมายเหตุ วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนค่ะ เนื่องจากสอบกลางภาค
















วันพุธที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2557

สรุป เรื่องอากาศ










Applications


1 .สามารถนำเรื่องอากาศไปปรับและประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอนได้ เช่นเรื่องการทำสื่อ การทดลอง เป็นต้น
2.สามารถนำเนื้อหาไปบรูณาการเรียนการสอนในเรื่องของวิทยาศาสตร์และต่อยอดความคิดให้มีสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่ในการเรียน
3.สามารถรู้ว่า อากาศเป็นสิ่งที่มีตัวตนมีน้ำหนักและสามารถเคลื่อนที่ได้








วันอังคารที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2557

สรุป เรื่องความลับของแสง








Applications


1. สามารถรู้ถึงปรากฎการการสะท้อนของแสงว่าสะท้อนผ่านสิ่งใดได้บ้าง เช่น กระจกราบ พื้นผิวขรุขระ
2. สามารถรู้ถึงพลังงานการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นที่สายตามนุษย์มองเห็น หรือบางครั้งอาจรวมถึงการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วงความยาวคลื่นตั้งแต่รังสีอินฟราเรดถึงรังสีอัลตราไวโอเลตได้





วันจันทร์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2557

เรียนครั้งที่ 7

บันทึกอนุทิน




วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  3 ตุลาคม พ.ศ. 2557
ครั้งที่  7   เวลาเรียน 13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40น

 knowledge 


วันนี้อาจารย์ให้ตัดแกนกระดาษทิชชู่ที่เตรียมมา2 คนต่อ1 โดยแบ่งครึ่งกับเพื่อนคนลงครึ่ง จากนั้นนำที่เจาะมาเจาะตรงแกนกลางกระดาษทิชชู่ทั้ง 2 ฝัง นำไหมพรมมารอยตรงรูที่เจาะจากนั้นอาจารย์แจกกระดาษ 1 แผ่นให้วาดวงกลมและวาดรูปลงไปในวงกลมจะจินตนาการแบบไหนก้ได้ตามอิสระพอเสร็จก็ตัดออกมาแล้วเอาไปติดที่แกนกระดาษทิชชู่ที่ยังว่าง ถือว่าเป็นอันเสร็จค่ะ


กิจกรรม กระดาษทิชชู่เคลื่อนที่

Way does

1



อุปกรณ์ในการทำ


2

เจาะรูทั้ง 2 ฝังของแกนกระดาษทิชชู

3

นำไหมพรมมารอยตรงที่เจาะรูตามรูที่เจาะไว้


4

จากนั้นวาดรูปตามจินตนาการของแต่ละบุคคลในวงกลม


5

ตัดรูปที่วาดเสร็จ ออกมาติดที่แกนกระดาษทิชชู่ที่วาง


6

เสร็จเรียบร้อย จะออกมาดังรูป




กิจกรรมนำเสนอบทความของเพื่อน

      การทำน้ำสมุนไพร เด็กได้สัมผัส ได้กลิ่น การชั่ง การตวง กระบวนการทำงานเด็กได้เกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนแปลง โดยครูมีบทบาทในการจัดสภาพแวดล้อมทำให้เด็กเกิดทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์




2.เรื่องสอนลูกเรื่องแสงและเงา

การสอนลูกเรื่องแสงและเงา (Teaching Children about Light and Shadow)  การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้เกี่ยวกับแสง ซึ่งเป็นพลังงานรูปแบบหนึ่งที่สิ่งมีชีวิตรับรู้ได้ด้วยตา เป็นเหตุให้มองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราได้ และเงา ซึ่งหมายถึง รูปร่างของวัตถุที่แสงผ่านทะลุไม่ได้ ทำให้แลเห็นเป็นเงาตามรูปร่างของวัตถุนั้น เด็กจะได้เรียนรู้ถึงแหล่งกำเนิดแสง หรือสิ่งที่ปล่อยแสงออกมา ได้แก่ ดวงอาทิตย์ ที่เป็นแหล่งกำเนิดแสงธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุด สัตว์และพืชบางชนิดมีแสง การเผาไหม้ของวัตถุบางชนิด เช่น พืช แก๊ส เทียนไข น้ำมัน ฯลฯ ทำให้เกิดแสง แสงบางชนิดมนุษย์เป็นผู้สร้างขึ้น เช่น แสงไฟฟ้า ไฟฉาย กล้องถ่ายรูป ฯลฯ แสงจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว แสงจากพืชและสัตว์บางชนิด และแหล่งกำเนิดแสงอื่นๆที่คนเราทำขึ้น เช่น จากการจุดไฟ เปิดไฟฟ้า เรื่องเหล่านี้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในโลกและจักรวาล และเป็นประโยชน์ที่ทำให้คนเราดำรงชีวิตอยู่ได้ เพราะมีแสงสว่างช่วยให้คนเรามองเห็น และแสงทำให้เกิดเงา ร่มเงาก็เป็นประโยชน์สำหรับสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย ได้อาศัยคลายร้อน ในขณะเดียวกัน หากไม่รู้ถึงโทษของสิ่งเหลานี้ ก็จะทำให้เกิดอันตรายจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น การที่เด็กๆเพ่งมองดวงอาทิตย์ที่ส่องแสงแรงจ้า ก็จะเป็นอันตรายแก่สายตา หรือการที่ปล่อยให้แสงแดดแผดเผาผิวกาย ก็เป็นอันตรายต่อผิวหนังคือ เกิดแผลไหม้เกรียม แสงอาจเกิดจากการเผาไหม้ของวัตถุเช่น เทียน แก๊ส น้ำมัน พืช แสงเหล่านี้อาจเกิดการเผาไหม้เองตามธรรมชาติ และเกิดจากมนุษย์ทำให้เกิด เมื่อเกิดแล้ว จะทำให้มลภาวะเป็นพิษในโลกนี้ ดังนั้น ธรรมชาติเรื่องแสงและเงาเป็นเรื่องใกล้ตัว อยู่ในชีวิตประจำวันของเรา จึงควรได้จัดประสบการณ์ให้แก่เด็กปฐมวัย





การสอนลูกเรื่องไฟฉาย(Teaching Children about Flashlight)  การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้เกี่ยวกับ เครื่องทำความสว่างประกอบด้วยอุปกรณ์สำคัญคือ จานฉายรูปโค้งสำหรับสะท้อนแสงและหลอดไฟฟ้า ซึ่งบรรจุอยู่ในเรือนกรอบกับสิ่งให้พลังงานที่ก่อให้เกิดแสงสว่าง และหลอดไฟซึ่งบรรจุอยู่ในกรอบกับสิ่งให้พลังงานก่อให้เกิดแสงสว่าง มีหลายชนิด ชนิดที่ถือติดตัวไปมาได้มักทำในรูปกระบอก ทั้งนี้เพราะการจัดสิ่งแวดล้อมที่ดีเป็นเรื่องจำเป็นในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้เจริญเติบโตเป็นเด็กที่มีคุณภาพ กล่าวคือเป็นผู้ที่พัฒนาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและสติปัญญาได้อย่างเหมาะสมตามวัย ในยุคปัจจุบันสิ่งแวดล้อมสำหรับเด็กปฐมวัยเกิดการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้เพราะความก้าวหน้าทางวิทยาการด้านเทคโนโลยี มีผลให้เกิดมีเครื่องใช้ที่จำเป็นและอำนวยความสะดวกสบายให้คนเรา ดังนั้น การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และวิธีใช้เครื่องเทคโนโลยีบางชนิดให้แก่เด็กปฐมวัยจึงเป็นเรื่องจำเป็น ดังเช่น ไฟฉาย ที่คนเราสร้างสรรค์ขึ้น มา เป็นเครื่องใช้ที่ให้แสงสว่างซึ่งเป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ดังนั้นการนำเรื่องไฟฉายมาจัดกิจกรรมให้แก่เด็กปฐมวัย






การสอนลูกเรื่องแรงโน้มถ่วง (Teaching Children about Gravity)  การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้เกี่ยวกับแรงที่โลกกระทำต่อวัตถุทุกชิ้น ดึงวัตถุในทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก ทำให้วัตถุยึดติดกับพื้นโลก มิให้ทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่บนผิวโลกหรือบรรยากาศของโลกหลุดลอยไปในอากาศได้ ทั้งนี้ เด็กปฐมวัยมีนิสัยสงสัยใคร่รู้เป็นโดยธรรมชาติ การที่เด็กมองเห็นสิ่งต่างๆรอบตัว และเกิดเรื่องราวให้ชวนคิด ชวนให้สงสัยมีมากมาย รวมทั้งคำถามว่า อะไรที่ทำให้เรายืนอยู่บนพื้นโลกได้โดยไม่ปลิวหายไปในอากาศและ มีใครบ้างที่อยู่ใต้พื้นโลก เขาหล่นหายไปหรือไม่คำถามของเด็กมีคำ ตอบ แต่หากผู้ใหญ่บอกเล่าเพียงให้เด็กทราบว่า ที่เป็นเช่นนี้เพราะโลกมีแรงโน้มถ่วง การบอกเช่นนั้นไม่ได้ประโยชน์อะไรเลย เพราะเด็กบอกไม่เห็นแรงโน้มถ่วง แต่หากเด็กได้มีโอกาสตรวจสอบเรื่องนี้จากกิจกรรมง่ายๆ ที่ครูหรือพ่อแม่จัดให้เด็กได้กระทำ จนเกิดเป็นความเข้าใจในเหตุและเห็นผลสอดคล้องกัน จะเป็นการส่งเสริมความคิด ทัศนคติที่ดีและเกิดทักษะที่จำเป็นในการแสวงหาความรู้ต่อๆไปอีกให้แก่เด็ก การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เด็กเรื่องแรงโน้มถ่วงจึงเป็นเรื่องหนึ่งที่เด็กปฐมวัยควรเรียนรู้







Applications


1. สามารถนำเทคนิคการสอนและสื่อที่อาจารย์นำมาสอนไปปรับใช้กับเด็กๆได้
2. สามารถนำบทความที่เพื่อนๆออกมานำเสนอไปจัดกิจกรรมในรูปแบบสื่อให้เด็กได้



Evaluation


Oneself  :  วันนี้ตั้งใจเตรียมอุปกรณ์มาทำสื่อ และตั้งใจทำกิจกรรมและฟังอาจารย์สอนค่ะ

Friend  :  เพือนๆตั้งใจเรียนและตั้งใจทำกิจกกรมค่ะ แต่ช่วงเพื่อนๆออกมานำเสนอบทความเพื่อนๆหันไปคุยกันบ้าง ไม่ค่อยฟัง

Teacher  :  อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่ดีค่ะ โดยมีการสอนการทำสื่อก่อนเข้าสู่บทเรียน สามารถได้ความรู้เพิ่มเติมในการไปประยุกต์ใช้กับเด็กในเรื่องวิทยาศาสตร์